E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557

วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้ง 13

  บันทึกอนุทิน  
Science Experiences Management for Early Chidhood
By. Teacher Jintana Suksamran 

Date : Fri. 14 November  2014 
Teaching time 1.10 PM. -  3.40 PM

 Knowledge...
  • นำเสนอแผนการสอนต่อจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
กลุ่มที่ 8 หน่วยแปรงสีฟัน ( ชนิด )
    
    ครูและเด็กร่สมกันร้องเพลง สวัสดีเธอจ๋าสวัสดี
    ขั้นนำ : ครูและเด็กท่องคำคล้องจองแปรงสีฟัน 
    ขั้นสอน : ครูใช้คำถาม ถามเด็กว่าในคำคล้องจองมีแปรงสีฟันชนิดใดบ้างและเด็กๆรู้จักแปรงสีฟันชนิดอื่นอีกมั้ยให้เด็กตอบ
    ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันสรุปเรื่องที่เรียนและท่องคำคล้องจองอีกครั้ง

ข้อเสนอเแนะ : การเขียนควรทำเป็น Mind map 

กลุ่มที่ 9 หน่วยผีเสืื้อ ( ลักษณะ )
 
   ขั้นนำ : ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจองลักษณะของผีเสื้อจากนั้นถามเด็กว่าในคำคล้องจองมีอะไรบ้าง
    ขั้นสอน : ครูนำภาพผีเสื้อ2ภาพมาให้เด็กดูและบอกลักษณะต่างๆของผีเสื้อทั้ง2ภาพและเปรียบเทียบหาความเหมือนและความแตกต่างระหว่างผีเสื้อทั้ง2ภาพนี้ ครูวาดภาพวงกลม2วงหาความสัมพันธ์ระหว่างผีเสื้อ2ตัว
   ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันสรุปถึงความเหมือนและความต่างของผีเสื้อทั้ง/ตัว

กลุ่มที่ 1 หน่วยกล้วย ( ชนิด ) แก้ไขจากสัปดาห์ที่ผ่านมา

     ขั้นนำ : ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงกล้วย ครูถามเด็กว่าในเพลงมีกล้วยชนอดใดบ้างและเด็กๆรู้จักกล้วยนอกเหนือจากในเพลงมีกล้วยอะไรอีก
    ขั้นสอน : 1.ครูนำภาพกล้วยแต่ละชนิดมาและถามเด็กๆว่าคือกล้วยอะไรและให้เด็กออกมาติดภาพบนกระดานและนับว่ามีภาพกล้วยกี่ภาพ
                  2.ครูตั้งเกณฑ์ " ให้เด็กๆหยิบภาพกล้วยหอมออกมาติดด้านล่าง " จากนั้นถามเด็กว่ากล้วยไหนมีเยอะกว่ากัน จากนั้นนับจับคู่1ต่อ 1เพื่อเปรียบเทียบว่ากล้วยชนิดไหนมากว่าและถ้าอันไหนเหลือแสดงว่าสิ่งนั้นมากกว่าแล้วนับว่าเหลือมากกว่าอยู่เท่าไหร่
    ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันสรุปสิ่งที่เรียน
  • กิจกรรม Cooking ( ทาโกะยากิข่าว )
 อาจารย์แนะนำอุปกรณ์ วัตถุดิบในการทำ และขั้นตอนการทำ จากนั้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติเอง 

  • เพื่อนๆออกมานำเสนอวิจัย
คนที่ 1 เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบจิตปัญญา Full Text

ความมุ่งหมายของการวิจัย
    1.เพื่อศึกษาระดับการพัฒนาของทักษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบจิตปัญญาโดยรวมและแยกรายทักษะ
    2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบจิตปญญา
ความสำคัญของวิจัย
    เป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนแบบจิตปัญญาให้ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยเป็นแนวทางในการใช้นวัตกรรมการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนแบบจิตปัญญา

คนที่ 2 เรื่องผลการจัดประสบการณ์นอกห้องเรียนที่มีผลต่อวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย2540 โดยใช้การสังเกต-ความสามารถในการรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง5


คนที่ 3 เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน Full Text

ความมุ่งหมายของการวิจัย
     1. เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
     2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับก่อนและหลังการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน


Things that need to be developed..
  • นำเทคนิคการสอนที่อาจารย์ได้สอนให้ดูเป็นตัวอย่างไปจัดการเรียนการสอนให้ถูกต้อง
  • การเลือกเทคต่างๆควรให้เหมาะสมกับเรื่องที่จะสอน
  • คนเป็นครูต้องใช้คำถามกับเด็กบ่อยๆเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจร่วม

Techniques for teaching..
  • การอธิบาย การสาธิต และการลงมือปฎิบัติจริง
Evaluation..
  • Self : รู้สึกตื่นเต้นกับสิ่งที่อาจารย์นำมาเพื่อให้ทำ Cooking  และได้ลงมือทำด้วยตนเอง แม้จะรอคอยนานแต่ก็รู้สึกคุ้มค่า
  • Friends : เพื่อนๆตั้งใจฟังและสนใจในเรื่องที่อาจารย์สอนและจดบันทึกสิ่งต่างๆที่อาจารย์เสนอแนะเมื่อถึงกิจกรรมCooking เพื่อนทุกคนมีส่วนร่วมในการทำ Cooking ครั้งนี้ แบ่งกลุ่มกันรอเพื่อที่จำทำ ดูสนุกสนานและมีความสุขมาก
  • Teacher : มีข้อเสนอแนะให้นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้นำไปใช้ และเตรียมอุปกรณ์ต่างๆมาให้นักศึกษาได้ลงมือทำอย่างครบถ้วนเพื่อให้นักศึกษาได้ลงมือทำทุกคน






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น